Uploaded by nay_den

dioxins

advertisement
ไดออกซิน (Dioxins)
ไดออกซิน เปนชื่อทั่วไปทีใ่ ชเรียกกลุมสาร chlorinated dioxin หรือ furan เชน polychlorinated
dibenzodioxins (PCDDs) PCDDs เปนสมาชิกของกลุมสารอินทรียที่มีฮาโลเจน ประกอบอยูด วย (halogen เชน
คลอรีน และโบรมีน) และพบวาสามารถสะสมในมนุษยและสัตวได เนื่องจากการละลายในไขมันที่ดีของมัน และรู
วาอาจเปนสารกอใหเกิดความพิการตั้งแตกาํ เนิดการกลายพันธุ และสารกอมะเร็งในมนุษยดวยเชนกัน
Dioxins ชื่อเต็มคือ Polychlorinated dibenzo-para-dioxins: PCDDs เกิดจากการเผาไหมที่ไมสมบูรณ
หรือ
by product ของกระบวนการผลิตที่เกี่ยวของกับ Chlorine มี 75 ชนิด
Furans สารที่คลายคลึง dioxins มีชื่อเต็มวา Polychlorinated dibenzo furans: PCDFs มี 135 ชนิด
Dioxin-like PCBs สารที่คลายคลึง dioxins มี 209 ชนิด
คุณสมบัต:ิ
* ละลายไดดใี นน้ํามัน จึงสะสมในเซลลไขมันของสิ่งมีชีวิต
* มีความคงตัวสูง ตกคางไดนานในสิ่งแวดลอม (Half life in human: 7.8-132 ป)
* เปนสารกอมะเร็ง เปนพิษตอระบบประสาท และระบบการสืบพันธุ
แหลงเกิด Dioxin/Furans
1.กระบวนการผลิตเคมีภัณฑที่เกี่ยวของกับ chlorinated phenols, chlorinated solvents รวมถึงอุตสาหกรรมการ
ผลิตกระดาษ อุตสาหกรรมฟอกยอม สิ่งทอ เครื่องหนัง
2. กระบวนการเผาไหมอุณหภูมิสูง เชน เตาเผากากของเสีย เตาเผาขยะ เตาเผาศพ
3. การผลิต/หลอมโลหะประเภทเหล็กและโลหะ
4. คลอรีนในกระบวนการฟอกกระดาษ
5. ควันบุหรี่, กระดาษกรองกาแฟผง และ กลองนม
6. การเผาไหมของน้ํามันเชื้อเพลิงรถยนตรวมกับสาร Anti knock
7. การเผาไหมสารเคมีการเกษตรกลุม Organochlorine
8. การเผาขยะ, การเผาไหมตางๆ
9. กระบวนการผลิตสารเคมีบางชนิด เชน Chlorobenzene, 1, 2, 4-trichlorobenzene เปนตน
ไดออกซินสามารถตกคางอยูในสิ่งแวดลอมไดเปนเวลานานและผานหวงโซอาหารมาถึงคนไดการไดรับ
สารนี้จึงมิไดมาจากทางผิวหนังหรือการสูดดมเทานั้น การบริโภคอาหาร จึงเปนอีกทางหนึ่งที่จะไดรบั ไดออกซิน
เชนกัน จากการที่ไดออกซินละลายไดในไขมันอยางดี ดังนั้นแหลงอาหารกลุมเสี่ยงที่พบมาก คือในไขมันของ
เนื้อสัตว เชน ผลิตภัณฑเนื้อสัตว ปลา(ทั้งน้ําจืดและน้ําเค็ม) หอย หมู ไก ไข นม เนย และช็อกโกแลต
โอกาสการปนเปอนในเนื้อสัตว:
วัตถุดิบอาหาร/อาหารสัตว (feed additives) * * *
กระบวนการผลิต/ขนสง
สิ่งแวดลอม
กฎระเบียบของไทยสําหรับ Dioxin/ Furan:
1. กรมวิชาการเกษตร - ใหสารในกลุม Dioxin/Furan เปนวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
(การมีไวครอบครองตองขออนุญาต)
2. กรมปศุสัตว - กําหนด PCBs ในไขมันสัตวปก ไมเกิน 2.0 pg/g (0.002 ppb) เทากับของ EU
มาตรฐาน CODEX สําหรับ Dioxin/ Furan
• ไมมีการกําหนดคา MRLs
• มี Code of Practice เปนขอแนะนําในการลดการปนเปอน Dioxin และ Dioxin-like PCB (CAC/RCP 62-2006)
สถานการณการปนเปอนใน EU
1976: อิตาลี พบในผักผลไม 50 μg/g
1999: เบลเยี่ยม พบในสินคาปศุสัตวสูงกวาคามาตรฐาน 800 เทา
2006: พบใน feed additive, Fish oil supplement, และ Poultry meat (Portugal)
2007: พบใน Feed additive (ตุรกี และจีน) , Guar gum, Canned fish liver ใน EU
2008:ไอรแลนด พบในเนื้อสุกร สูงกวาคามาตรฐาน 100 เทา และพบในวัตถุดบิ อาหารสัตวหลาย
ชนิด จากหลายประเทศ
การพิจารณาการไดรับสารไดออกซินของรางกายโดยองคการอนามัยโลก (World Health Organization; WHO)
กําหนด Tolerable daily intake (TDI) หรือ ปริมาณสารที่รางกายสามารถทนรับไดโดยไมกอใหเกิดอันตรายของสาร
ไดออกซินไวที่ 1.0 – 4.0 pg/kg body weight /day นั่นคือ มนุษยสามารถไดรับสารไดออกซินจากแหลงตาง ๆ
รวมกันไมเกินวันละ 1.0 – 4.0 พิโคกรัม/กิโลกรัมน้ําหนักตัว ไปจนตลอดชีวิตจึงไมเปนอันตรายจากสารไดออกซิน
สําหรับวิธีประเมินความเสี่ยงของการไดรบั สารไดออกซินใชวิธีเทียบเทากับแฟคเตอรสารเปนพิษ หรือ WHO-TEFs
(Toxic equivalent factors, 1997)
Download